เนื่องจากความเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา ฮอร์โมนและระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย เป็นอีกเหตุผลที่ทำให้หญิงตั้งครรภ์มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในช่องปากมากขึ้น
เมื่อตั้งครรภ์ ร่างกายต้องการธาตุเหล็กมากขึ้นเพื่อช่วยสร้างเซลล์เม็ดเลือดแดง โดยเซลล์เม็ดเลือดแดงเหล่านี้จะนำส่งออกซิเจนไปยังอวัยวะและเนื้อเยื่อของคุณ รวมถึงไปยังลูกน้อยด้วย แต่หากร่างกายมีแร่ธาตุที่จำเป็นต่อการสร้างเม็ดเลือดแดงไม่เพียงพอ จะทำให้คุณแม่ตั้งครรภ์เกิดภาวะโลหิตจางได้
ปฏิกิริยาตอบสนองของเด็กแรกเกิด (Newborn Reflexs) เป็นการเคลื่อนไหวตามธรรมชาติที่ทารกทำเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้าบางอย่างที่เกิดขึ้น เช่น ดูด กำนิ้ว สะดุ้ง เป็นต้น
ผู้ใหญ่หลายคนอาจจะคิดว่าน้ำผึ้งเป็นยา ช่วยบำรุงร่างกายได้ ถ้าให้เด็กกินน่าจะช่วยให้ร่างกายแข็งแรง แต่สำหรับเด็กที่อายุน้อยกว่า 1 ปี ไม่ควรที่จะทาน
การฝากไข่และสเปิร์ม เหมาะสำหรับชาย หญิง ที่อยู่ในวัยเจริญพันธุ์ แต่ยังไม่พร้อมมีบุตร เป็นการเก็บรักษาคุณภาพของไข่และสเปิร์มให้มีคุณภาพดีและสามารถนำมาใช้เมื่อคู่สมรสพร้อมที่จะมีบุตร
โรคตาขี้เกียจ หรือที่พูดกันทั่วไปคือ โรคตาบอดตาใส เป็นภาวะที่ผู้ป่วยมองเห็นผิดปกติ ตาทั้ง 2 ข้างเห็นชัดไม่เท่ากัน พบได้บ่อยในเด็กตั้งแต่อายุ 1-7 ปี
อ่านหนังสือให้ลูกฟัง ดีอย่างไร? หลายๆ ครอบครัวคิดว่าอาจจะเป็นเรื่องเล็กน้อย เสียเวลา แต่การอ่านหนังสือให้ลูกน้อยฟังบ่อยๆ จะสามารถช่วยพัฒนาสมองของลูกได้จริง อีกทั้งยังสามาถช่วยพัฒนาทักษะการอ่าน ภาษา การคิดวิเคราะห์...
เป็นการตั้งครรภ์ที่คุณแม่และลูกน้อยมีโอกาสเสี่ยงเกิดภาวะแทรกซ้อน หรือเสียชีวิตสูงกว่าการตั้งครรภ์ทั่วไป โดยเฉพาะครรภ์แฝดที่มีรกอันเดียวและใช้ถุงน้ำคร่ำเดียวกัน
การนับลูกดิ้น เป็นวิธีการประเมินสุขภาพของทารกในครรภ์ที่คุณแม่ทำได้เองง่ายๆ โดยเฉพาะคุณแม่ตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงสูงเช่น ครรภ์เป็นพิษ หรือเบาหวาน เป็นต้น
ความเครียดนอกจากจะส่งผลเสียต่อร่างกายคุณแม่แล้ว ยังส่งผลเสียต่อลูกน้อยในครรภ์อีกด้วย ความเครียดที่เกิดขึ้นมีทั้งความเครียด หงุดหงิดทั่วไป เครียดแบบฉับพลัน ไปจนถึงการสะสมความเครียดไว้เนิ่นนาน จนกลายเป็นความเครียดเรื้อรัง ..
การเดินเป็นการออกกำลังกายอย่างหนึ่ง คุณหมอจะแนะนำให้คุณแม่ตั้งครรภ์ทุกคนออกกำลังกายเบาๆ ไม่หักโหม...
เราลองมาดูความเชื่อต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการตั้งครรภ์กันค่ะ ทั้งการรับประทานอาหาร รวมถึงการใช้ชีวิตประจำวัน มีสิ่งไหนที่เป็นจริงและสิ่งไหนที่ไม่เป็นความจริง..
ระบบทางเดินอาหารของทารกแรกเกิดมีข้อจํากัดหลายอย่าง ทําให้การย่อยการดูดซึมอาหารไม่มีประสิทธิภาพมากเท่ากับผู้ใหญ่ การให้อาหารอื่นใดนอกจากนมแม่ อาจทำให้เกิดความเสี่ยงของอาการต่างๆ ดังต่อไปนี้
การลดน้ำหนักหลังคลอดนั้นมีข้อจำกัดหลายด้าน เนื่องจากในขณะที่คุณแม่ลดน้ำหนักก็อยู่ในระหว่างการให้นมบุตรด้วยเช่นกัน
อาการ ผมร่วงหลังคลอด มีสาเหตุมาจาก "ฮอร์โมนเอสโตรเจน" ที่เปลี่ยนแปลง เป็นภาวะที่...
ลูกน้อยร้องไห้โคลิค แล้วโคลิคคืออะไร? อาการเป็นอย่างไร? อันตรายหรือไม่? ลูลู่กูรู มีคำตอบค่ะ..
ผ่าตัดเสริมหน้าอก สามารถให้นมลูกได้หรือไม่ สามารถให้นมได้ตามปกติค่ะ แต่ถ้าหาก...
อาหารที่เหมาะสมกับพัฒนาการตามวัยของทารก ความหยาบ ละเอียดของอาหาร และวิธีการปรุง ควรให้สอดคล้องกับพัฒนาการตามวัย..
“โรคพร่องเอนไซม์ G6PD” เป็นโรคที่มีสาเหตุมาจากการถ่ายทอดทางพันธุกรรม จากแม่ไปสู่ลูก โดยร้อยละ 15 จะเกิดกับเพศชายมากกว่าเพศหญิง
BLW (Baby-Led Weaning) คือ การให้ทารกเป็นผู้ควบคุมการกินอาหารด้วยตัวเองทั้งหมด เน้นให้ลูกเรียนรู้ ฝึกการเคี้ยว ควบคุมลิ้นเอง การใช้กล้ามเนื้อมือ สามารถเริ่มได้ตั้งแต่อายุ 6 เดือน ..
ท่าทางการอุ้มในการ จะต้องเรียนรู้ให้ถูกต้อง เหมาะสม เพื่อให้ทารกอยู่ในท่าที่สบายสามารถดูดนมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนทำให้คุณแม่ไม่ต้องเสี่ยงต่อการหัวนมแตก หรือเป็นก้อน หากการดูดไม่เกลี้ยงเต้า หรือรู้สึกไม่สุขสบายขณะให้นมทารก