share

ลูกตัวเหลือง อันตรายหรือไม่?

Last updated: 7 Sep 2023
137 Views
ลูกตัวเหลือง อันตรายหรือไม่?

ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิดสามารถพบได้เป็นปกติ เกิดจากสารสีเหลืองชื่อ ”บิลิรูบิน” ส่วนใหญ่จะดีขึ้นหลังทารกมีอายุครบ 1-2 สัปดาห์

ภาวะตัวเหลือง ในทารกตามธรรมชาติ สัมพันธ์กับการที่ทารกที่ได้รับนมไม่เพียงพอ มีน้ำหนักลดมาก จะมีโอกาสตัวเหลืองมากกว่าปกติ ร้อยละ 80 สารสีเหลืองที่ว่า จะถูกขับออกทางอุจจาระ การดูดนมที่ถูกวิธีจะช่วยกระตุ้นการทำงานของลำไส้ของลูกน้อย ทำให้สารสีเหลืองถูกขับออกได้เร็วขึ้น ลดระยะเวลาการส่องไฟรักษาลง

ภาวะตัวเหลืองของทารกจะผิดปกติเมื่อทารกมีอาการ ซึม ดูดนมน้อยลง ตัวอ่อนปวกเปียกหรือเกร็งหลังแอ่น ชัก และมีไข้ มีอาการตัวเหลืองมากหรือเพิ่มขึ้นเร็ว สีอุจจาระซีดลง หรือปัสสาวะสีเหลืองเข้มมากหรือเป็นสีเหมือนน้ำปลา ควรรีบพาทารกกลับไปพบแพทย์ทันที


บทความที่เกี่ยวข้อง
ฟันผุ ขณะตั้งครรภ์ เสี่ยง! คลอดก่อนกำหนด
เนื่องจากความเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา ฮอร์โมนและระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย เป็นอีกเหตุผลที่ทำให้หญิงตั้งครรภ์มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในช่องปากมากขึ้น
ดื่มเบียร์ ขณะตั้งครรภ์ ล้างไขทารกได้ จริงหรือ?
แอลกอฮอล์ ส่งผลต่อทารกในครรภ์ได้ร้ายแรง แม้จะดื่มในปริมาณน้อยก็ตาม การดื่มเบียร์ขณะตั้งครรภ์ เพิ่มความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนมากมาย
เตรียมตัว ฝากไข่-สเปิร์ม เพื่อวางแผนมีบุตร
การฝากไข่และสเปิร์ม เหมาะสำหรับชาย หญิง ที่อยู่ในวัยเจริญพันธุ์ แต่ยังไม่พร้อมมีบุตร เป็นการเก็บรักษาคุณภาพของไข่และสเปิร์มให้มีคุณภาพดีและสามารถนำมาใช้เมื่อคู่สมรสพร้อมที่จะมีบุตร
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ นโยบายคุกกี้
เปรียบเทียบสินค้า
0/4
ลบทั้งหมด
เปรียบเทียบ